Montessori Association of Thailand
  • Home
    • Congress 2021
    • Our Partners >
      • AMI
    • Our Schools >
      • Sunthornwattana School
      • Ban Buphram School
      • Seechompoo Montessori School
      • Bandoikum School
      • Chomchon Changkeing School
      • Ban Nongwai School
      • Chuak Muay Wittaya School
      • Ban Huaykhayung School
      • Benjalak School
      • Ban Huaipai School
      • Dipangkorn Wittayapat School
      • Ban Kuikor School
      • Talad Nongkae School
      • Ban Kae School
      • Ban Nonghaikampia School
      • Ban Nongwaeng Montessori School
      • Ban Raka Montessori School
      • Chumchon Ban Kotom School
    • Archive >
      • Event - Assistant to Infancy Training - Jan 5-8, 2015
      • Event - Visit by Philip O'Brien, AMI President
      • Event - EsF - Aug 2-16, 2015
      • Archived Docs
  • AMI Trainings การอบรม
    • Teachers for 3-6 year old (2017-18)
    • Resources เพื่อเสริมความรู้ >
      • Child Development การเดิบโตของเด็ก
    • Archive >
      • Teachers for 0-3 year old
      • Teachers for 3-6 year old
      • Summer Schedule
      • Other AMI Trainings
  • About เกี่ยวกับสมาคม
    • Montessori
    • Contact
    • Announcements
    • Links
แนะนำแนวการสอนของมอนเทสซอริ โดยโรงเรียนและผู้ให้การศึกษาต่างๆ เสนอโดยสมาคมมอนเทสซอริแห่งประเทศไทย
​Introduction to the Montessori educational principles in Thai by schools and educators. Brought to you by Montessori Association of Thailand.

A Montessori Dictionary พจนานุกรมมอนเทสซอรี

คำศัพย์มอนเทสซอริตัวอย่าง Sample text
Absorbent Mind จิตซึมซับ: จิตสามารถซึมซับความรู้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย มอนเทสซอรีกล่าวว่าเด็กแรกเกิดถึงหกปีมี “จิตซึมซับ”

Adaptation การปรับตัว: เมื่อเชื่อมโยงกับแนวคิดด้านจิตซึมซับ (Haines, 1993) การปรับตัวคือพลังพิเศษของเด็กเล็กจึงอาจเรียกว่าพลังการปรับตัว พลังนี้คือกระบวนการที่เด็กเล็กซึมซับวัฒนธรรมตามกาลเวลาและสถานที่ของเด็ก รับเจตคติ ประเพณี ความไฝ่ฝันและทัศนะจากสังคม แค่เพียงเด็กอาศัยอยู่กับสังคมนั้น
 
Analysis of Movement การวิเคราะห์การเคลื่อนไหว: เทคนิควิธีหนึ่งที่ใช้โดยครูมอนเทสซอรี- เมื่อผู้ใหญ่สาธิตการเคลื่อนไหวที่ซับซ้อนแก่เด็กจะแยกส่วนการเคลื่อนไหวและแสดงทีละขั้นตอน อย่างช้าๆและแม่นยำ การกระทำนั้นจึงเป็นลำดับการเคลื่อนไหวที่ง่ายและให้โอกาสเด็กทำสำเร็จมากขึ้น เมื่อ “เด็กได้ใช้การเคลื่อนไหวนั้นอย่างเสรี”(Montessori, 1966, p. 108)
 
Children’s House บ้านเด็ก: ในภาษาอิตาเลียน Casa de Bambini คาซา ดี เบมบีนี เป็นสถานที่สำหรับเด็ก อายุ   ๓ ถึง ๖ ปีอยู่อาศัยและเจริญเติบโต มีทุกสิ่งที่จำเป็นต่อพัฒนาการสูงสุดของมนุษย์รวมทั้งความปลอดภัยและมั่นคงของสิ่งแวดล้อม
 
Classification การจัดแบ่งประเภท: จัดกลุ่ม จัดสรร จำแนก – เป็นปกติที่ เด็กเล็กชอบทำการจัดแบ่งประเภทเนื่องจากเป็นส่วนสำคัญยิ่งของกระบวนการสร้างปัญญา ห้องเรียนมอนเทสซอรีเสนอโอกาสมากมายเพื่อการจัดแบ่งประเภท
 
Concentration สมาธิ: กระทำอย่างจดจ่อ- เด็กเล็กมุ่งความสนใจไปที่ลักษณะหรือสิ่งต่างๆในสิ่งแวดล้อมที่จำเป็นต่อพัฒนาการ ในทัศนะมอนเทสซอรี สมาธิคือ “การกระทำอย่างต่อเนื่องที่จดจ่อกับงานหนึ่งงานใด – การปฏิบัติร่วมกับอุปกรณ์ในสิ่งแวดล้อม โดยการเคลื่อนที่ของมือมาจากการชี้นำของสติปัญญา” (1983, p. 149) Deep engagement
 
Concrete to Abstract รูปธรรมสู่นามธรรม:  ความก้าวหน้าอย่างถูกต้องและพัฒนาการอย่างเหมาะสม- เมื่อเด็กได้รับการแนะนำอุปกรณ์รูปธรรมซึ่งทำให้นามธรรมเป็นรูปเป็นร่าง เช่น ขนาดหรือสี -เมื่อมือได้ประสบการณ์ สติปัญญาก็จะรับแนวคิดจากอุปกรณ์และสร้างแนวคิดเชิงนามธรรม พัฒนาการที่ค่อยๆเกิดขึ้นจะส่งเสริมให้เด็กเข้าใจและหยั่งรู้แนวคิดในลักษณะของสัญญลักษณ์
 
Control of Error การควบคุมความบกพร่อง:  วิธีหนึ่งที่แสดงผลสะท้อนกลับแบบทันทีทันใด- กิจกรรมมอนเทสซอรีทุกอย่างให้เด็กประเมินผลก้าวหน้าโดยตนเองได้ นี่คือเหตุทำให้ผู้เรียนควบคุมตนเอง และขณะเดียวกันก็ป้องกันความภูมิใจและแรงจูงใจในตนเองของเด็กได้ -การควบคุมความบกพร่องเป็นคุณสมบัติประการสำคัญของ การเรียนรู้อย่างอัตโนมัติ auto- education.
คำศัพย์มอนเทสซอริ ฉบับเต็ม
Montessori vocabulary full text
a_montessori_dictionaryแปล.pdf
File Size: 331 kb
File Type: pdf
Download File

Montessori Association of Thailand

About 
Contact
© COPYRIGHT 2015. ALL RIGHTS RESERVED.